วันเสาร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2559

คำถาม?

คำถาม?


1. กำหนดค่า EN ของธาตุดังนี้ A = 3.0 , B = 2.8 X= 2.7 , Y = 3.7 จงเรียงลำดับความแรงขั้วจากมากไปน้อย

      ก. A-B , B-X , X-Y     ข. A-Y , B-X , A-X     ค. Y-B , A-Y , A-X     ง. A-X , B-Y , A-Y


2. จำนวนพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุล CH4 , SiCl4 , NaCl , NH3 เป็นกี่พันธะมีค่าเรียงตามลำดับ  คือข้อใด
   ก. 4 , 4 , 0 , 3     ข. 6 , 3 , 1 , 0       ค. 4 , 3 , 0 , 3      ง. 5 , 4 , 1 , 0

3. เหตุใดสารโคเวเลนต์ จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ
    ก. สารโคเวเลนต์มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย       ข. สารโคเวเลนต์มักสลายตัวได้ง่าย
    ค. สารโคเวเลนต์ไม่มีประจุไฟฟ้า                                   ง. สารโคเวเลนต์มักมีโมเลกุลขนาดเล็ก

4. พันธะเดี่ยว หมายถึงอะไร
    ก. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่
    ข. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่
    ค. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่
    ง. พันธะที่เกิดจากการใช้์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวร่วมกัน 1 คู่

5. ธาตุในข้อใด เกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคลอรีนได้ดีที่สุด

    ก. Na                ข. Ra             ค. C                 ง. Cs

6. สมบัติทางกายภาพในข้อใด ที่ใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของอโลหะ
    ก. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมใหญ่ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
    ข. พลังงานไอออไนเซชันต่ำ ขนาดอะตอมใหญ่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ
    ค. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
    ง. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง

7. ธาตุ Z มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ลำดับที่หนึ่งถึงลำดับที่ 8 เป็นดังนี้ 1.320, 3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343, 84.086 ธาตุ Z มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด

    ก. 1                ข. 4                ค. 6                ง. 7

8. ตารางแสดงค่าพลังงานพันธะเฉลี่ยในสารไฮโดรคาร์บอน
   
ชนิดพันธะ
พลังงานพันธะ
C - H
413
C - C
348

การสลายพันธะโพรเพน (C3H8)  0.5 โมล จะต้องใช้พลังงานมากกว่าหรือน้อยกว่าการสลายพันธะอีเทน (C2H6)  0.5 โมล  เท่าไร
     ก. มากกว่า 587 kJ     ข. น้อยกว่า 283 kJ      ค. มากกว่า 526 kJ     ง. น้อยกว่า 278 kJ


9. สารละลายที่เกิดจากธาตุหมู่ 1 กับน้ำ มีสมบัติอย่างไร
    ก. เป็นกลาง     ข. เป็นได้ทั้งกรดและเบส      ค. เป็นกรด       ง. เป็นเบส

10. สาร X เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว สาร Y เป็นโมเลกุลมีขั้ว ส่วนสาร Z เป็นพันธะไม่มีขั้ว ถ้าขนาดของโมเลกุลของ X>Y>Z แล้วสาร X Y และ Z ควรเป็นดังข้อใด

    ก. CH2 , NH3 , C6H6      ข. BeCl2 , CH2Cl2 , S8      ค. Br2 , H2O , H2      ง. SiH4 , PCl3 , PCl5
        เฉลย!

1. ค
2. ก
3. ก
4. ก
5. ค
6. ง
7. ค
8. ก
9. ง
10. ค

   

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3.7 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับธาตุและสมบัติของธาตุต่างๆ มาแล้ว ต่อไปนี้จะศึกษาธาตุและสารประกอบของธาตุที่สำคัญบางชนิด ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิตของมนุษย์สัตว์และพืช พร้อมทั้งศึกษา...อ่านเพิ่มเติม


บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

 3.6 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ   การศึกษาสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ จะช่วยในการทำนายสมบัติของธาตุได้ ถ้ารู้ตำแหน่งของธาตุ...อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ธาตุกัมมันตรังสี 

3.5 ธาตุกัมมันตรังสี    คือธาตุพลังงานสูงกลุ่มหนึ่งที่สามารถแผ่รังสี แล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้ มีประวัติการค้นพบดังนี้ 1.รังสีเอ็กซ์ ถูกค้นพบโดย Conrad Röntgen อย่างบังเอิญเมื่อ...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ธาตุกัมมันตรังสี

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ธาตุกึ่งโลหะ 

3.4 ธาตุกึ่งโลหะ  ป็นธาตุที่มีองค์ประกอบทางเคมีซึ่งมีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างสมบัติของลหะกับอโลหะโดยไม่มีการกำหนดมาตรฐานหรือข้อตกลงที่แน่นอนของการเป็นธาตุกึ่ง...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ธาตุกึ่งโลหะ

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ธาตุแทรนซิชัน

3.3 ธาตุแทรนซิชัน เคมีจัดธาตุแทรนซิชันไว้ในกลุ่มของธาตุที่เป็นโลหะ แต่ไม่ได้เป็นกลุ่มเดียวกับธาตุหมู่ IA  IIA  และ IIIA  เพราะเหตุใดจึงจัดธาตุแทรนซิชันไว้อีกกลุ่มหนึ่ง เพื่อ...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ธาตุแทรนซิชัน

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของหมู่ตามหมู่

3.2 ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของหมู่ตามหมู่ ศึกษาสมบัติของธาตุตามหมู่และตามคาบรวมทั้งสมบัติของสารประกอบของธาตุบางชนิดตามคาบมาแล้...อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ปฏิกิริยาของธาตุและสารประกอบของหมู่ตามหมู่

บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ

สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ

3.1 สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ จากการศึกษาสมบัติต่างๆ ของธาตุในตารางธาตุ เช่น ขนาดอะตอม พลังงานไอออไนเซชัน และค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตี จะพบว่าสมบัติเหล่านี้มีแนวโน้มการเปลี่ยน...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ


บทที่ 2 พันธะเคมี


พันธะโลหะ

2.3 พันธะโลหะ เป็นพันธะภายในโลหะซึ่งเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนระหว่างแลตทิซของอะตอมโลหะ ดังนั้นพันธะโลหะจึงอาจเปรียบได้กับเกลือที่หลอมเหลว...อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พันธะโลหะ

บทที่ 2 พันธะเคมี

พันธะไอออนิก 

2.2 พันธะไอออนิก  คือ พันธะที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าสถิตระหว่างไอออนบวก(cation) และไอออนลบ(anion) อันเนื่องมาจากการถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากโลหะให้...อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พันธะโคเวเลนต์

บทที่ 2 พันธะเคมี

 พันธะโคเวเลนต์

2.1 พันธะโคเวเลนต์ คือพันธะเคมีภายในโมเลกุลลักษณะหนึ่ง พันธะโคเวเลนต์เกิดจากอะตอมสองอะตอมใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนหนึ่งคู่หรื...อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ พันธะโคเวเลนต์

บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ



ตารางธาตุ

1.2 ตารางธาตุ คือ ตารางที่ใช้แสดงรายชื่อธาตุเคมี คิดค้นขึ้นโดยนักเคมีชาวรัสเซีย ดมีตรี เมนเดเลเยฟ (Dmitri Mendeleev) ในปี พ.ศ.2412 จากการสังเกตว่า เมื่...อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตารางธาตุ

บทที่ 1 อะตอมและตารงธาตุ

แบบจำลองอะตอม
1.1 แบบจำลองอะตอม เป็นภาพทางความคิดที่แสดงให้เห็น รายละเอียดของโครงสร้างอะตอมที่สอดคล้อง กับผลการทดลองและใช้อธิบายปรากฎการณ์ ของอะตอมได้ ซึ่งหลังจากสมัยของดาลตัน ผลการทดลองของนักวิ...อ่านเพิ่มเติม



ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ แบบจำลองอะตอม